S&I International Bangkok Office Co., Ltd. ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2539 ให้บริการทางด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญามาเป็นระยะเวลา 24 ปี ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เราได้เห็นถึงการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของเอเชีย ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก และผมได้สะสมประสบการณ์จากการทำธุรกิจในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้เห็นพัฒนาการของระบบทรัพย์สินทางปัญญาของไทย การพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานได้รับการพัฒนาและปรับปรุงโดยหน่วยงานภาครัฐ
มีคำกล่าวว่าระบบทรัพย์สินทางปัญญานั้น มีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนคือ หน่วยงานภาครัฐที่ทำหน้าที่รับจดทะเบียน นักประดิษฐ์หรือนักออกแบบ และผู้ทรงสิทธิ มองดูแล้วเราจะเห็นว่า การตรวจสอบและการจดทะเบียนเป็นหน้าที่ของทางราชการ นอกเหนือจากนั้น เอกชนเป็นผู้ที่มีบทบาทในการดำเนินการเกือบทั้งหมด ผมจึงเข้าใจว่า เราและสำนักงานทรัพย์สินทางปัญญามีหน้าที่รับผิดชอบ ในการทำให้บทบาทของภาคเอกชน ดำเนินไปอย่างราบรื่นและถูกต้องแม่นยำ และจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ในฐานะสำนักงานญี่ปุ่นที่ทำงานในต่างประเทศ เราจึงมีบทบาทอย่างกว้างขวาง ในบางครั้งนอกจากให้การสนับสนุนลูกค้า โดยดำเนินการให้คำปรึกษาแล้ว บริษัทยังมีบทบาทในการช่วยเหลืออยู่เบื้องหลังกิจกรรมของรัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น นอกจากความมุ่งมั่นในการบริการอย่างมืออาชีพแล้ว เราจะยังคงปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพ เพื่อมอบการบริการที่หลากหลายแก่ลูกค้าของเรา ทั้งจากมุมมองของผู้ได้รับบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสนับสนุนให้ลูกค้าสามารถเข้าใจเกี่ยวกับระบบทรัพย์สินทางปัญญาได้ง่ายขึ้น และการดำเนินงานอย่างโปร่งใส
เราตระหนักถึงความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าของเรา ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง และขอขอบคุณสำหรับความไว้วางใจตลอดมา
มกราคม พ.ศ. 2563
Masafumi Iguchi
ประธานผู้บริหาร
S&I International Bangkok Office Co., Ltd.
S&I Asia Co., Ltd.
S&I Japan Co., Ltd.
ประวัติการศึกษา
|
|
มีนาคม พ.ศ. 2520 | ปริญาตรี มหาวิทยาลัยโตเกียว คณะเกษตรศาสตร์ |
มกราคม พ.ศ. 2544 | ขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่น |
ประสบการณ์
|
|
เมษายน พ.ศ. 2521 ถึงมกราคม พ.ศ. 2539 |
ทำงานที่สำนักงานสิทธิบัตรญี่ปุ่น (JPO) ภายใต้กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศญี่ปุ่น (ชื่อเดิม) |
เมษายน พ.ศ. 2525 | ผู้ตรวจสอบสิทธิบัตร (ด้านการเกษตรและประมง, การแปรรูปอาหาร, เคมีไฟฟ้าและโลหะ) |
พ.ศ. 2527 | หัวหน้าฝ่ายวางแผน และหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบด้านเครื่องกล แผนกคอมพิวเตอร์ กองบริหารงานทั่วไป สำนักสิทธิบัตรแห่งญี่ปุ่น (โครงการ Paperless) |
พ.ศ. 2530 | ได้รับเลือกให้ศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในฐานะตัวแทนนักวิจัยแห่งชาติ |
มิถุนายน พ.ศ. 2536 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2538 |
ผู้ให้คำปรึกษาด้านการบริหารเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินอุตสาหกรรม ในฐานะผู้เชี่ยวชาญขององค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) ประจำที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ |
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 | ก่อตั้ง S&I International Bangkok Office Co., Ltd. |
ตุลาคม พ.ศ. 2548 | ก่อตั้ง S&I Asia Co., Ltd. ที่กรุงเทพฯ และบริษัท S&I Japan Co., Ltd. ที่กรุงโตเกียว และดำรงตำแหน่งประธานบริษัท |
เมษายน พ.ศ. 2551 ถึงมีนาคม พ.ศ. 2552 |
ศาสตราจารย์พิเศษด้านยุทธศาสตร์ทรัพสินทางปัญญา มหาวิทยาลัยกุมมะ |
กลุ่มสมาชิก |
International Association for Protection of Industrial Property, AIPPI Licensing Executive Society Japan, LES สมาคมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย (Intellectual Property Association of Thailand, IPAT) สมาคมส่งเสริมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย (Intellectual Property Promotion Association of Thailand, IPPAT) สมาคมหอการค้าญี่ปุ่น (Japanese Chamber of Commerce in Bangkok, JCCB) Asian Patent Attorney Association, APAA Japan Patent Attorney Association, JPAA |
สาขาวิชา | ชีวเคมีทางทะเล |
หนังสือ |
กฎหมายสิทธิบัตรการประดิษฐ์และลิขสิทธิ์ประเทศไทย (พ.ศ. 2545 หอการค้าญี่ปุ่นแห่งกรุงเทพมหานคร) Design Protect (ระบบคุ้มครองสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ไทย, No.57, พ.ศ. 2546 สมาคมคุ้มครองการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเทศญี่ปุ่น) การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (สถานการณ์ทรัพย์สินทางปัญญาในอาเซียน, Vol.54 No. 4 (No.637) ฉบับเมษายน พ.ศ. 2547 สมาคมทรัพย์สินทางปัญญาของญี่ปุ่น) คู่มือการต่อต้านสินค้าลอกเลียนแบบ ฉบับประเทศไทย (พ.ศ. 2551 JETRO) ฟอรั่มวิจัยทรัพย์สินทางปัญญา (แนวโน้มของทรัพย์สินทางปัญญาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Vol.80, พ.ศ. 2553 สถาบันวิจัยทรัพย์สินทางปัญญา) Tokugikon (ระบบสิทธิบัตรประเทศไทยและพื้นที่ใกล้เคียง No.260 ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ.2554 การประชุมทางเทคโนโลยีของสำนักงานสิทธิบัตรญี่ปุ่น) Patent (กิจกรรมด้านทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศไทย Vol. 64, ฉบับเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 JPAA) Patent (สามแรงขับเคลื่อนของการหมุนเวียนด้านทรัพย์สินทางปัญญาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Vol. 70, ฉบับเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 JPAA) |
ชื่อบริษัท | S&I International Bangkok Office Co., Ltd. |
ก่อตั้งเมื่อ | พ.ศ. 2539 |
ผู้บริหาร | Mr. Masafumi Iguchi (ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตร) |
ที่อยู่ | 253 ชั้นที่ 23 อโศก สุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 |
หมายเลขติดต่อ | TEL : 02-261-6449/6466 FAX : 02-261-6419/6379 |
siasia@loxinfo.co.th (ติดต่อทั่วไป, สืบค้นสิทธิบัตรการประดิษฐ์และสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) patent@siasia.co.th (สิทธิบัตรการประดิษฐ์) design@siasia.co.th (สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) trademark@siasia.co.th (เครื่องหมายการค้า) |
|
บริการ | ตัวแทนยื่นคำขอจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา สืบค้นฐานข้อมูล ให้คำปรึกษา ดำเนินงานเกี่ยวกับสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตรการประดิษฐ์ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องหมายการค้า) |
จำนวนเจ้าหน้าที่ |
จำนวน 59 คน (เดือนกันยายน พ.ศ. 2562) - ทนายความและตัวแทนสิทธิบัตรไทย จำนวน 9 คน - ทนายความไทย จำนวน 3 คน - ตัวแทนสิทธิบัตรไทย จำนวน 10 คน - ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่น จำนวน 2 คน - เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่น จำนวน 8 คน - เจ้าหน้าที่ชาวไทยที่สามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นได้ จำนวน 6 คน [แบ่งตามแผนก] ・แผนกสิทธิบัตรการประดิษฐ์ จำนวน 28 คน (ทนายความไทย 6 คน, ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่น 1 คน, เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่น 4 คน) ・แผนกสิทธิบัตรการออกแบบ จำนวน 4 คน (เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่น 2 คน) ・แผนกเครื่องหมายการค้า จำนวน 12 คน (ทนายความไทย 6 คน, เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่น 2 คน) ・แผนกสืบค้นสิทธิบัตรการประดิษฐ์และออกแบบ จำนวน 6 คน (เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่น 1 คน) ・แผนกบัญชีและHR จำนวน 7 คน |
บริษัทในเครือ |
S&I Asia Co., Ltd. [ผู้บริหาร] Mr. Masafumi Iguchi (ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่น) [ก่อตั้ง] พ.ศ. 2548 [ที่อยู่] 253 ชั้น 23 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 [บริการ] สืบค้นสิทธิบัตรการประดิษฐ์, สิทธิบัตรออกแบบ และเครื่องหมายการค้า, แปลเอกสาร S&I Japan Co., Ltd. |
รายชื่อลูกค้าหลัก | Ajinomoto Co., Inc. / Hitachi, Ltd. / JFE Steel Corporation. / Toray Industries, Inc. / JETRO (Japan External Trade Organization) / Japan Institute for Promoting Invention and Innovation / Lion Corporation. / Panasonic Corporation. / Sumitomo Chemical Co., Ltd. / Toyota Motor Corporation. / Unicharm Corporation. / Mitsui Chemicals, Inc. / Asahi Kasei Corporation. / Mitsubishi Chemical Corporation. / Yamaha Motor Co., Ltd. / Casio Computer Co., Ltd. / Toshiba Corporation. |
ธนาคารคู่สัญญา | Sumitomo Mitsui Banking Corporation (สาขากรุงเทพฯ) / ธนาคารกรุงศรีอยุธยา / ธนาคารกรุงไทย |
กลุ่มสมาชิก |
สมาคมหอการค้าญี่ปุ่น (Japanese Chamber of Commerce in Bangkok, JCCB) / สมาคมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย (Intellectual Property Association of Thailand, IPAT) / สมาคมส่งเสริมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย (Intellectual Property Promotion Association of Thailand, IPPAT) / Japan Patent Attorney Association, JPAA / Asean Intellectual Property Association, ASEAN-IPA / Asian Patent Attorney Association, APAA / The International Trademark Association, INTA / *International Association for Protection of Industrial Property, AIPPI / *Licensing Executive Society Japan, LES
*สมาชิกรายบุคคลเท่านั้น |
ยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์ (ทนายความ, ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นิติศาสตรบัณฑิต) - Franklin Pierce Law Center (นิติศาสตรมหาบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ทนายความ (พ.ศ. 2543) / ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2544) |
เชี่ยวชาญด้าน | สิทธิบัตรการประดิษฐ์ / การบังคับใช้สิทธิ์ |
ศรัทธา อิศโรวุธกุล (ทนายความ, ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (นิติศาสตรบัณฑิต) - มหาวิทยาลัยรามคำแหง (นิติศาสตรมหาบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ทนายความ (พ.ศ. 2547) / ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2558) |
เชี่ยวชาญด้าน | เครื่องหมายการค้า |
อังคาร ตั้นพันธ์ (ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาชีวเคมี) - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ) |
ขึ้นทะเบียน | ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2546) |
เชี่ยวชาญด้าน | ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ |
กว่าชื่น เสียงก้อง (ทนายความ, ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา | - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นิติศาสตรบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ทนายความ (พ.ศ. 2553) / ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2558) |
เชี่ยวชาญด้าน | เครื่องหมายการค้า |
เพ็ญพิชชา มาลัย (ทนายความ, ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นิติศาสตรบัณฑิต) - มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (นิติศาสตรมหาบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ทนายความ (พ.ศ. 2553) / ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2555) |
เชี่ยวชาญด้าน | สิทธิบัตรการประดิษฐ์ |
อาภาพรรณ สี่หิรัญวงศ์ มิลเดอ (ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นิติศาสตรบัณฑิต) - Queen Mary University of London (นิติศาสตรมหาบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2555) |
เชี่ยวชาญด้าน | สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ |
ณิชกานต์รัฏฐ์ โสภณมณี (ทนายความ, ตัวแทนสิทธิบัตร)
|
|
ประวัติการศึกษา |
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า) - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (นิติศาสตรบัณฑิต) |
ขึ้นทะเบียน | ทนายความ (พ.ศ. 2556) / ตัวแทนสิทธิบัตร (พ.ศ. 2555) |
เชี่ยวชาญด้าน | สิทธิบัตรการประดิษฐ์ |
Ms. Yoko Sawai (ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่น)
|
|
ประสบการณ์ | สำเร็จการศึกษาจาก Aoyama Gakuin University สาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้าทำงานที่สำนักงานสิทธิบัตรในกรุงโตเกียว และผ่านการสอบขึ้นทะเบียนผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตรญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2547 ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 - เดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 ได้ร่วมงานกับองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (Japan External Trade Organization (JETRO)) สาขากรุงเทพฯ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิบัตร และเข้าทำงานที่ S&I International Bangkok Office ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2560 จนถึงปัจจุบัน |
เชี่ยวชาญด้าน | เครื่องจักรกล, วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ |
แผนกสิทธิบัตร | Ms. Ryoko Baba, Ms. Sae Ichida, Ms. Eriko Yoshida, Ms. Masami Abe |
แผนกสืบค้นสิทธิบัตรและสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ | Ms. Miho Sakai |
แผนกสิทธิบัตรการออกแบบ | Ms. Shuei Machiyama, Ms. Mari Kato |
แผนกเครื่องหมายการค้า | Ms. Kaori Hamaguchi, Ms. Mari Kato |
ตุลาคม พ.ศ. 2559 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย JPAA สาขาเขตคันไซ จัดอบรมภายในบริษัทที่กรุงโตเกียว เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย JPAA ที่เมืองโคเบะ |
พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนาที่จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดโดย JETRO |
ธันวาคม พ.ศ. 2559 |
เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานประชุมสัมนา ซึ่งจัดโดย Tokyo Metropolitan Intellectual Property Center ของสำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงโตเกียว ที่กรุงโตเกียว
เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งจัดโดย JIPA ที่กรุงโตเกียว |
มกราคม พ.ศ. 2560 | จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่เมืองโยโกฮาม่า |
มีนาคม พ.ศ. 2560 | จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่เมืองโยโกฮาม่า |
กรกฎาคม พ.ศ. 2560 |
เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย Tokyo Metropolitan Intellectual Property Center ของสำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงโตเกียวที่กรุงโตเกียว
จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่เมืองคาวาซากิ |
ตุลาคม พ.ศ. 2560 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งจัดโดย JIPA ที่กรุงโตเกียวและนครโอซาก้า |
พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย JIII ที่กรุงโตเกียว |
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 |
เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย JIII ที่กรุงเทพมหานคร จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
เมษายน พ.ศ. 2561 | จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่กรุงโตเกียว |
พฤษภาคม พ.ศ. 2561 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในงานสัมนา ซึ่งจัดโดย JETRO |
สิงหาคมและ ตุลาคม พ.ศ. 2561 |
เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งจัดโดย JIPA ที่กรุงโตเกียวและนครโอซาก้า |
ตุลาคม พ.ศ. 2561 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในประชุมวิจัยทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งจัดโดย Tokyo Metropolitan Intellectual Property Center ของสำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงโตเกียว ที่กรุงโตเกียว |
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 | จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ผู้ประกอบการ ที่จังหวัดชลบุรี |
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 | จัดอบรมภายในบริษัทให้แก่ลูกค้า ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
มิถุนายน พ.ศ. 2562 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในหลักสูตรก่อนฝึกอบรม ซึ่งจัดโดย JIPA ที่นครโอซาก้า |
สิงหาคม พ.ศ. 2562 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในประชุมวิจัยทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งจัดโดย Tokyo Metropolitan Intellectual Property Center ของสำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกรุงโตเกียว ที่กรุงโตเกียว |
ตุลาคม พ.ศ. 2562 | เข้าร่วมเป็นผู้บรรยายในหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งจัดโดย JIPA ที่กรุงโตเกียวและนครโอซาก้า |